อาจฟังดูแล้วเป็นเรื่องที่น่าประหลาดใจ และ เป็นที่น่ากังวล ว่าเหตุใดในขณะที่เราพยายาม ลดน้ำหนัก ตัวลง ด้วยขั้นตอนวิธีการต่าง ๆ อย่างเข้มงวด และเคร่งครัด กับกลายเป็นผลลัพธ์ที่ตรงกันข้ามตัวของเรา กลับกลายเป็นว่ามีน้ำหนักตัวที่เพิ่มมากยิ่งขึ้น ซึ่งเราจะพบได้ว่าเป็นสภาวะปกติ ที่พบกันได้อยู่โดยทั่วไปเราจึงมาหาคำตอบ มาลองไขข้อสงสัยกันว่าทำไม เราจึงประสบปัญหาต่าง ๆ ในส่วนนี้

ปัจจัยอะไรที่ทำให้การ ลดน้ำหนัก ของสาว ๆไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
สำหรับในส่วนแรก เราต้องทำความเข้าใจกันก่อนว่าการที่ท่านจะสามารถบรรลุเป้าหมายในการ ลดน้ำหนักได้จะต้องมีการควบคุมมีการให้ความสำคัญกันในหลาย ๆ องค์ประกอบแต่ปัจจัยสำคัญทางเว็บ ความสวยความงาม ขอแนะนำสิ่งที่จะทำให้เราสามารถบรรลุเป้าหมายที่ต้องการนั้นได้โดยง่ายจะถูกขวางกั้น จะถูกรบกวนด้วยอาการของความหิว โดยเราจะพบได้ว่าฮอร์โมน ที่ทำหน้าที่ควบคุมความอยากอาหาร และ ความอิ่มนั้นจะมีทั้งหมด 3 ชนิด ฮอร์โมนเลปติน(อยากอาหาร) ฮอร์โมนเกรลิน(ความอิ่ม) ฮอร์โมนคอร์ติซอล(ความเครียด) จากกลุ่มฮอร์โมนทั้ง 3 ชนิดนี้ จะมีส่วนช่วยทำให้เราควบคุมความต้องการ ในการอยากอาหาร หรืออาจทำให้เราสามารถรู้สึกอิ่มได้โดยง่าย แต่เราจะพบได้ว่าในบางสาเหตุ จากกิจกรรมการ ลดน้ำหนักของตัวคุณ ๆ ทั้งหลายนั้น อาจจะส่งผลทำให้เกิดความไม่สมดุลของฮอร์โมน ทำให้เรามีความรู้สึกหิว มีความต้องการอาหาร ซึ่งจะส่งผลร้าย ทำให้เราอ้วนขึ้นกันได้ถึงแม้จะอยู่ในช่วง ลดน้ำหนักกันนั่นเอง ซึ่งเราจะพบได้ถึงปัจจัยที่จะส่งผลให้ น้ำเพิ่มมากขึ้นได้ดังนี้

- การงดเว้นอาหาร หรือรับประทานอาหารในปริมาณที่น้อยลง อาหารลดน้ำหนัก ในกลุ่มผู้ที่มีการปฏิบัติตัวในลักษณะนี้ จากผลงานวิจัยจะพบได้ว่าในกลุ่มที่มีการรับประทานอาหาร ที่มีปริมาณแคลอรีอยู่ที่ 800 กิโลแคลอรี่ต่อวัน จะมีการลดลงของฮอร์โมนเลปติน ที่จะลดต่ำได้มากถึง 40 เปอร์เซ็นต์ ทั้งยังจะมีส่วนทำให้ฮอร์โมนเกรลินมีปริมาณที่สูงมากยิ่งขึ้น นั่นจึงจะทำให้เรามีความหิวอยู่โดยตลอดเวลา และอาจก่อให้เกิดปัญหาภาวะโยโย่เอฟเฟค ที่จะทำให้เรากลับมาอ้วนขึ้นได้ในภายหลั งถึงแม้น้ำหนักตัวจะลดลงไปแล้ว
- กลุ่มคนที่มีการนอนพักผ่อนน้อย ในงานวิจัยทางการแพทย์ ได้มีการพูดถึงกลุ่มคนที่ลดน้ำหนักทั้งยังมีการนอนพักผ่อน ที่น้อยกว่า 8 ชั่วโมง จะส่งผลให้ฮอร์โมนเลปติน ภายในร่างกายของเราลดลงได้ถึง 16 เปอร์เซ็นต์ และถ้านอนน้อยกว่า 7 ชั่วโมงระดับฮอร์โมนเกรลิน จะมีปริมาณเพิ่มมากขึ้นถึง 32 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งในกรณีที่มีการอดนอน ในช่วงระยะเวลา 24 ชั่วโมง ฮอร์โมนคอร์ติซอล ซึ่งจะทำให้เรามีระดับความเครียดสูงขึ้น จะส่งผลในส่วนนี้ได้มากถึง 37 เปอร์เซ็นต์นั่นจึงแสดงให้เห็นว่าการอดนอน จะทำให้ฮอร์โมนความหิวในร่างกายเราสูงขึ้น ทั้งยังจะลดฮอร์โมนความอิ่ม ในมื้ออาหารลดน้อยลงทำให้เรารับประทานอาหารมากยิ่งขึ้น และยังจะส่งผลเสีย ทำให้เรามีภาวะทางความเครียดที่สูงขึ้นอีกด้วยนั่นเอง การนอนหลับให้นอนหลับให้เพียงพอจึงจะช่วยให้ฮอร์โมนต่าง ๆ อยู่ในระดับที่เหมาะสม
- ปัญหาความเครียด จะเกิดขึ้นเมื่อระดับฮอร์โมนคอร์ติซอล มีปริมาณที่สูงขึ้นและจะส่งผลทำให้เรามีความอยากอาหารเพิ่มมากยิ่งขึ้นในแต่ละช่วงเวลา

จากปัญหาปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้ จึงแสดงให้เห็นว่าการที่ท่านต้องการจะบรรลุเป้าหมายในการ ลดน้ำหนักตัวลงได้จะต้องมีการสร้างความสมดุลให้กับร่างกาย ทั้งทางด้านของการรับประทานอาหาร การนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ และการรู้จักควบคุมความเครียด ที่จะส่งผลเสียต่อฮอร์โมนในร่างกายต่าง ๆ